แบบสอบถามประเมินสมรรถนะการบริหารและคุณลักษณะความเป็นผู้นำและธรรมาภิบาลของ
ผู้บริหารมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ปีงบประมาณ พ.ศ. 2559
 
 
คำชี้แจ้ง
1. แบบสอบถามนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อทราบระดับสมรรถะการบริหารและคุณลักษณะความเป็นผู้นำและธรรมาภิบาลของผู้บริหารผลการประเมิน
  จะนำไปใช้ประกอบในการปรับปรุงพัฒนามหาวิทยาลัย
2. แบบสอบถามแบ่งออกเป็น 3 ส่วน ได้แก่
  ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม
  ส่วนที่ 2 ระดับสมรรถนะการบริหารและคุณลักษณะความเป็นผู้นำและธรรมาภิบาลของผู้บริหาร
  ส่วนที่ 3 ข้อเสนอแนะ
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ผู้บริหารที่ท่าประเมิน คือ ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน
 
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม      
 
 1. ประเภทผู้ตอบ
 
 
ส่วนที่ 2 ระดับสมรรถนะการบริหารและคุณลักษณะความเป็นผู้นำและธรรมาภิบาลของผู้บริหาร      
  โปรดอ่านข้อควาแล้วพิจารณาตัดสินค่าระดับสมรรถนะการบริหารและคุณลักษณะความเป็นผู้นำและธรรมาภิบาลขงผู้บริหาร      
  แล้วเลือกในค่าระดับที่เลือกเพียงระดับเดียว      
 
   5 หมายถึง สมรรถนะการบริหารและคุณลักษณะ ระดับมากที่สุด
   4 หมายถึง สมรรถนะการบริหารและคุณลักษณะ ระดับมาก
   3 หมายถึง สมรรถนะการบริหารและคุณลักษณะ ระดับปานกลาง
   2 หมายถึง สมรรถนะการบริหารและคุณลักษณะ ระดับน้อย
   1 หมายถึง สมรรถนะการบริหารและคุณลักษณะ ระดับน้อยที่สุด

รายการประเมิน ระดับความพึงพอใจ
5
4
3
2
1
ด้านสมรรถนะการบริหาร
    
1. นำนโยบายของมหาวิทยาลัยมาปฏิบัติให้เกิดผลในองค์กร
    
2. สื่อสารถ่ายทอดนโยบายและกลยุทธ์สู่ผู้ปฏิบัติงานได้ดี
    
3. จัดระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารและการตัดสินใจ
    
4. สร้างสรรค์บรรยากาศและสิ่งแวดล้อมเพื่อการเรียนรู้และพัฒนาวิชาการ
    
5. สร้างและส่งเสริมการทำงานเป็นทีม พร้อมสนับสนุนให้ทีมทำงานสำเร็จ
    
6. ติดตาม และประเมินผลการปฏิบัติตามภาระงานของบุคลากร
    
7. สร้างความผูกพันต่อองค์กรของบุคลากร
    
8. สร้างกิจกรรมหลากหลายในการพัฒนาบุคลากร
    
9. ส่งเสริมให้สถาบันมีบทบาทในการแสวงหารายได้
    
10. เสริมสร้างชุมชนวิชาการและการผนึกกำลังเพื่อการพัฒนาวิชาการ
 
ด้านคุณลักษณะความเป็นผู้นำและธรรมาภิบาล
 
- ด้านผู้นำ
    
11. ความเป็นผู้นำในการกำหนดวิสัยทัศน์ ค่านิยมและกลยุทธ์
    
12. การสื่อสารถ่ายทอดวิสัยทัศน์ และค่านิยมต่อประชาคมขององค์กร และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
    
13. การสร้างบรรยากาศและแรงจูงใจให้เกิดการปฏิบัติอย่างจริงจัง เพื่อดำเนินงานสู่เป้าหมาย
    
14. ความรับผิดชอบต่อคุณภาพบัณฑิต และผลการดำเนินงานขององค์กร
    
15. การสร้างความก้าวหน้าและเปลี่ยนแปลงต่อองค์กร
    
16. ความคิดเชิงบวกในการมองปัญหาขององค์กรและทำงานร่วมกับบุคลากร
    
17. การเสียสละและอุทิศตนเพื่อความก้าวหน้าขององค์กร
 
- ด้านธรรมาภิบาลในการบริหาร
    
18. หลักประสิทธิผล: ปฏิบัติราชการบรรลุวัตถุประสงค์และเป้าหมายของแผน
โดยการปฏิบัติงานต้องมีทิศทาง ยุทธศาสตร์ และเป้าประสงค์ที่ชัดเจน มีกระบวนการปฏิบัติงาน
และระบบงานที่เป็นมาตรฐานรวมถึงมีการติดตาม ประเมินผล และพัฒนา ปรับปรุงอย่างต่อเนื่องและเป็นระบบ
    
19. หลักประสิทธิภาพ: บริหารราชการตามแนวทางการกำกับดูแลที่ดีที่มีการออกแบบกระบวนการปฏิบัติงาน
โดยการใช้เทคนิคและเครื่องมือการบริหารจัดการที่เหมาะสม ใช้ทรัพยากรทั้งด้านต้นทุน แรงงาน
และระยะเวลาให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อการพัฒนาหน่วยงาน
    
20. หลักการตอบสนอง: ให้บริการที่สามารถดำเนินการได้ภายในระยะเวลา ที่กำหนด และสร้างความเชื่อมั่น
ความไว้วางใจ รวมถึง ตอบสนองตามความคาดหวัง/ความต้องการของผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
    
21. หลักภาระรับผิดชอบ: แสดงความรับผิดชอบในการปฏิบัติหน้าที่และผลงานต่อเป้าหมายที่กำหนดไว้
รวมทั้งการแสดงถึงความสำนึกในการรับผิดชอบต่อปัญหาสาธารณะ
    
22. หลักความโปร่งใส: เปิดเผยอย่างตรงไปตรงมา ชี้แจงได้เมื่อมีข้อสงสัย และสามารถเข้าถึงข้อมูลข่าวสาร
อันไม่ต้องห้าม ตามกฎหมายได้อย่างเสรี
    
23. หลักการมีส่วนร่วม: เปิดโอกาสให้มีส่วนร่วมในการรับรู้ เรียนรู้ ทำความเข้าใจ ร่วมแสดงทัศนะ ร่วมเสนอปัญหา/
ประเด็นที่สำคัญที่เกี่ยวข้อง ร่วมคิดแนวทาง ร่วมการแก้ไขปัญหา ร่วมในกระบวนการตัดสินใจ และร่วมกระบวนการ
พัฒนาในฐานะหุ้นส่วนการพัฒนา
    
24. หลักการกระจายอำนาจ: ถ่ายโอนอำนาจการตัดสินใจ ทรัพยากร และภารกิจ ให้แก่หน่วยงาน โดยมีอิสระตามสมควร
    
25. หลักนิติธรรม: ปฏิบัติหน้าที่โดยใช้กฎหมายและบังคับใช้กฎหมายอย่างเป็นธรรม เสมอภาค
    
26. หลักความเสมอภาค: ได้รับการปฏิบัติและได้รับบริการอย่างเท่าเทียมกันโดย ไม่มีการแบ่งแยก
    
27. หลักมุ่งเน้นฉันทามติ : ให้ผู้ที่เกี่ยวข้องทุกฝ่ายได้ตัดสินใจหรือกำหนดทางเลือกร่วมกัน โดยให้ทุกฝ่าย
มาร่วมกันพูดคุย แลกเปลี่ยน เรียนรู้ และรับฟังข้อมูลของแต่ละฝ่าย พร้อมทั้งช่วยกันตัดสินใจหรือกำหนดทางเลือกที่ดี
เป็นประโยชน์ต่อส่วนรวมมากที่สุดและเป็นที่ยอมรับของทุกฝ่าย
 
 
ส่วนที่ 3 ข้อเสนอแนะต่อการให้บริการ
ขอขอบคุณ